ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัย เรื่อง ศึกษาสาเหตุการอ่านภาษาอังกฤษไม่ออกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 โรงเรียนวัดราชโอรสผู้วิจัย ได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับ ดังนี้
ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) วิเคราะห์โดยการหาค่าร้อยละ
ตอนที่ 2 การศึกษาเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
Scale) 5 ระดับ
วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับ
เกณฑ์ในการแปลค่าระดับความคิดเห็น
มีดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 103)
ค่าเฉลี่ย
|
ความหมาย
|
4.51 – 5.00
|
ปัญหาระดับ มากที่สุด
|
3.51 – 4.50
|
ปัญหาระดับ มาก
|
2.51 – 3.50
|
ปัญหาระดับ ปานกลาง
|
1.51 – 2.50
|
ปัญหาระดับ น้อย
|
1.00 – 1.50
|
ปัญหาระดับน้อยที่สุด
|
ตอนที่ 3 เปรียบเทียบ
วิเคราะห์การทดสอบค่าที (t –
test)
ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check
list) วิเคราะห์โดยการหาค่าร้อยละ
ตาราง 2 แสดงจำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ
รายการ
|
จำนวน (คน)
|
ร้อยละ
|
||
ชาย
|
26
|
52
|
||
หญิง
|
24
|
48
|
||
รวม
|
50
|
100.00
|
||
จากตาราง 2 แสดงให้เห็นว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 50 คน
ส่วนใหญ่
เป็นเพศชายโดยคิดเป็นร้อยละ
52มีเพียงร้อยละ 48เป็นเพศหญิง ตามลำดับ
ตาราง 3 แสดงจำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามอายุของผู้กรอกแบบสอบถาม
รายการ
|
จำนวน (คน)
|
ร้อยละ
|
||
ต่ำกว่า13
|
5
|
10
|
||
14
มากว่า15
|
36
9
|
72
18
|
||
รวม
|
50
|
100.00
|
||
จากตาราง 3แสดงให้เห็นว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 50 คน
ส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถาม อายุ14 ร้อยละ 72 ลองลงมา อายุมากกว่า15 ร้อยละ18
อายุที่กรอกแบบสอบถามน้อยที่สุด ต่ำกว่า13 ร้อยละ 10
ตอนที่ 2การศึกษาเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
Scale) 5 ระดับ
วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับ
เกณฑ์ในการแปลค่าระดับความคิดเห็น
ตาราง 4แสดงค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเกี่ยวกับระดับปัญหาเกี่ยวกับผู้สอนจำแนกตามบุคคล
ปัญหาเกี่ยวกับผู้สอน
|
N =
คน
|
ลำดับที่
|
ระดับ
|
||
x̄ |
S.D. |
||||
|
|||||
1
|
สอนไม่เข้าใจ
|
3.7
|
0.96
|
2
|
มาก
|
2
|
สอนเร็วเกินไป
|
3.6
|
0.93
|
4
|
มาก
|
3
|
ไม่มีวิธีการสอนที่สนุกสนานหรือควรปรับเปลี่ยนวิธีการสอนให้น่าเรียนยิ่งขึ้น
|
3.7
|
0.94
|
3
|
มาก
|
4
|
ผู้สอนไม่ฝึกทักษะในการใช้ในชีวิตประจำวัน
|
3.3
|
1.04
|
5
|
กลาง
|
5
|
สื่อสารกันไม่เข้าใจ(
ในกรณีที่มีผู้ฝึกสอนจากต่างประเทศ )
|
4.1
|
0.97
|
1
|
มาก
|
รวมเฉลี่ย
|
3.7
|
0.04
|
มาก
|
จากตาราง 3
แสดงให้เห็นว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ
ปัญหาเกี่ยวกับผู้สอนโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 3.7) เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ พบว่า
อยู่ในระดับ มากที่สุด จำนวน 0รายการ อยู่ในระดับ มาก จำนวน
4รายการ
อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 1รายการ อยู่ในระดับ น้อย จำนวน 0
รายการ อยู่ในระดับ
น้อยที่สุด จำนวน 0รายการ สำหรับ รายการที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ สื่อสารกันไม่เข้าใจ( ในกรณีที่มีผู้ฝึกสอนจากต่างประเทศ )(x̄ = 4.1) ส่วนรายการที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ผู้สอนไม่ฝึกทักษะในการใช้ในชีวิตประจำวัน (x̄ = 3.3)
ตาราง 5แสดงค่าเฉลี่ย
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเกี่ยวกับระดับปัญหาเกี่ยวกับผู้เรียนจำแนกตามบุคคล
ปัญหาเกี่ยวกับผู้เรียน
|
N =
คน
|
ลำดับที่
|
ระดับ
|
||
x̄ |
S.D.
|
||||
1.
|
ผู้เรียนเรียนไม่รู้เรื่อง
|
3.7
|
0.96
|
1
|
มาก
|
2.
|
ไม่สนใจในการเรียน
|
3.4
|
0.93
|
5
|
กลาง
|
3.
|
3.4
|
0.95
|
4
|
กลาง
|
|
4.
|
ไม่รู้หลักในการอ่าน
|
3.3
|
0.97
|
7
|
กลาง
|
5.
|
ผู้เรียนมีความรู้มากเท่าไหร่ในรายวิชาภาษาอังกฤษ
|
3.3
|
0.84
|
8
|
กลาง
|
6.
|
วิชาภาษาอังกฤษเป็นวิชาที่น่าเบื่อ
|
3.6
|
1.06
|
2
|
มาก
|
7.
|
ไม่สามารถสะกดได้
|
3
|
1.19
|
9
|
กลาง
|
8.
|
ไม่กล้าถามในสิ่งที่ไม่เข้าใจ
|
3.3
|
1.15
|
6
|
กลาง
|
9.
|
ไม่ชอบพูดภาษาอังกฤษ
|
3.4
|
1.12
|
3
|
กลาง
|
รวมเฉลี่ย
|
3.4
|
0.12
|
กลาง
|
จากตาราง 5แสดงให้เห็นว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ ปัญหาเกี่ยวกับผู้เรียนโดยรวมอยู่ในระดับกลาง (x̄ = 3.4) เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ พบว่า
อยู่ในระดับ มากที่สุด จำนวน 0 รายการ อยู่ในระดับ มาก จำนวน 2รายการ
อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 6รายการ อยู่ในระดับ น้อย จำนวน 0รายการ อยู่ในระดับ
น้อยที่สุด จำนวน 0รายการ สำหรับ รายการที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ ผู้เรียนเรียนไม่รู้เรื่อง (x̄= 3.7) ส่วนรายการที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ไม่สามารถสะกดได้ (x̄ = 3)
ตาราง 6แสดงค่าเฉลี่ย
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเกี่ยวกับระดับปัญหาเกี่ยวกับหนังสือเรียนหรือสื่อการเรียนรู้จำแนกตามบุคคล
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสือเรียนหรือสื่อการเรียนรู้
|
N =
คน
|
ลำดับที่
|
ระดับ
|
||
x̄
|
S.D.
|
||||
1.
|
ไม่สามารถทบทวนบทเรียนด้วยตนเอง
|
3.6
|
1.07
|
1
|
มาก
|
2.
|
การนำสื่อเทคโนโลยีมาสอนไม่สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียน
|
3.4
|
0.95
|
2
|
กลาง
|
รวมเฉลี่ย
|
3.5
|
0.09
|
กลาง
|
จากตาราง 6แสดงให้เห็นว่า ประชากรส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ
ปัญหาเกี่ยวกับหนังสือเรียนหรือสื่อการเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับกลาง (x̄ = 3.5) เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ พบว่า
อยู่ในระดับ มากที่สุด จำนวน 0รายการ อยู่ในระดับ มาก จำนวน
1รายการ
อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 1รายการ อยู่ในระดับ น้อย จำนวน 0รายการ อยู่ในระดับ
น้อยที่สุด จำนวน 0รายการ สำหรับ รายการที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ ไม่สามารถทบทวนบทเรียนด้วยตนเอง (x̄ = 3.6) ส่วนรายการที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การนำสื่อเทคโนโลยีมาสอนไม่สามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียน (x̄ = 3.4)
ตาราง 7แสดงค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเกี่ยวกับระดับปัญหาเกี่ยวกับการเรียนในห้องเรียนจำแนกตามบุคคล
ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนในห้องเรียน
|
N =
คน
|
ลำดับที่
|
ระดับ
|
||
x̄
|
S.D.
|
||||
1.
|
มีเสียงรบกวน
|
3.3
|
1.23
|
1
|
กลาง
|
2.
|
ไม่ได้ยินเสียงสื่อการสอนจากผู้สอน
|
2.7
|
1.31
|
2
|
กลาง
|
รวมเฉลี่ย
|
3
|
0.06
|
กลาง
|
จากตาราง 6
แสดงให้เห็นว่า ประชากรส่วนใหญ่ที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนในห้องเรียนโดยรวมอยู่ในระดับกลาง (x̄ = 3) เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ พบว่า
อยู่ในระดับ มากที่สุด จำนวน 0รายการ อยู่ในระดับ มาก จำนวน
0รายการ
อยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 3รายการ อยู่ในระดับ น้อย จำนวน 0รายการ อยู่ในระดับ
น้อยที่สุด จำนวน 0รายการ สำหรับ รายการที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ มีเสียงรบกวน (x̄ = 3.3) ส่วนรายการที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ไม่ได้ยินเสียงสื่อการสอนจากผู้สอน (x̄ = 2.7)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น